• เรื่องน่ารู้จากอีซูซุ
  • 7 จุดเช็กรถบรรทุกประจำวันง่ายๆ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

  • 6 กุมภาพันธ์ 2567

    7 จุดเช็กรถบรรทุกประจำวันง่ายๆ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

    อีซูซุจะมาแชร์ 7 จุดตรวจเช็กรถบรรทุกประจำวันง่าย ๆ ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง
    7 จุดเช็กรถบรรทุกประจำวันง่ายๆ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
    7 จุดเช็กรถบรรทุกประจำวันง่ายๆ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
    การเตรียมพร้อมที่ดี ย่อมมีชัยไปกว่าครึ่ง เหมือนงานขนส่งที่รถบรรทุกคือ สิ่งสำคัญที่พี่ๆ นักขับทุกคนควรต้องหมั่นดูแลให้ดี เพื่อให้รถพร้อมทำงานเต็มร้อยในทุกเวลา งานมาเมื่อไหร่ ก็พร้อมเสมอวันนี้ อีซูซุจะมาแชร์ 7 จุดตรวจเช็กรถบรรทุกประจำวันง่าย ๆ ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเองดังนี้
    1. ตรวจสอบน้ำมันเครื่องและของเหลวให้อยู่ในระดับปกติ
    2. ตรวจสอบสายพาน โดยเช็กสภาพของสายพาน ความตึงหย่อน เสียงการทำงาน
    3. เช็กไฟส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน
    4. ตรวจดูว่ามีรอยรั่วของของเหลวต่างๆ หรือไม่ ทั้งบริเวณห้องเครื่องยนต์ และใต้ท้องรถ เช็กให้แน่ใจว่าไม่มีจุดรั่วซึม
    5. ตรวจเช็กการทำงานของเบรกมือ โดยลองดึงเบรกมือขึ้น ต้องมีเสียง 3-8 แกร๊ก หากเป็นเบรกมือแบบลมต้องไม่มีเสียงลมรั่ว
    6. เช็กระยะฟรีของแป้นเบรก แป้นคลัตช์ แป้นคันเร่ง โดยใช้มือลองกดที่แป้น และเช็กพวงมาลัย โดยลองหมุนเล็กน้อยว่าให้มีระยะฟรีที่เหมาะสมหรือไม่
    7. เช็กความพร้อมของยางและล้อ รวมถึงยางอะไหล่ว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
    หากอยากให้การขนส่งของคุณมั่นใจยิ่งขึ้น สามารถนำรถบรรทุกเข้ามาตรวจเช็กสภาพได้ที่ศูนย์บริการมาตรฐานอีซูซุ ที่ครอบคลุมทั่วประเทศมากกว่า 200 สาขา พร้อมดูแลคุณ

    บทความที่เกี่ยวข้อง

    จริงหรือไม่? ขับรถลงเขาเข้าเกียร์ว่าง ช่วยประหยัดน้ำมันจริงหรือไม่? ขับรถลงเขาเข้าเกียร์ว่าง ช่วยประหยัดน้ำมัน

    26 ธันวาคม 2566

    จริงหรือไม่? ขับรถลงเขาเข้าเกียร์ว่าง ช่วยประหยัดน้ำมัน

    หลายคนอาจจะเคยได้ยินว่า การปล่อยเกียร์ว่างไหลลงเขา ช่วยให้รถคุณประหยัดน้ำมัน

    จริงหรือไม่? ขับรถลงเขาเข้าเกียร์ว่าง ช่วยประหยัดน้ำมัน

    2 สัญญาณถึงเวลาต้องตรวจเช็กเพลา2 สัญญาณถึงเวลาต้องตรวจเช็กเพลา

    3 กุมภาพันธ์ 2566

    2 สัญญาณถึงเวลาต้องตรวจเช็กเพลา

    เพลากลาง หรือเพลาขับ คือตัวช่วยสำคัญในการขับเคลื่อนของรถ แต่หากใช้งานไม่ถูกวิธีอาจจะทำให้รถมีความเสียหายได้

    วันนี้อีซูซุมีวิธีดูแลรักษา ยืดอายุการใช้งานเพลาของรถเรามาให้

    - เปลี่ยนจาระบีใหม่ทุก 2 ปี หรือ ประมาณ 40,000 กิโลเมตร

    - เช็กลูกปืนเพลาขับ หากยางหุ้มเพลาฉีกขาด

    - ไม่ขับขี่ออกตัวกระชากรถรุนแรง

    2 สัญญาณถึงเวลาต้องตรวจเช็กเพลา

    จอดพักรถอย่างไรให้ปลอดภัย?จอดพักรถอย่างไรให้ปลอดภัย?

    1 สิงหาคม 2565

    จอดพักรถอย่างไรให้ปลอดภัย?

    ในการขับรถบรรทุกส่วนใหญ่นั้น การจอดรถเพื่อหยุดพัก ถือเป็นกิจกรรมที่ทุกคนต้องเคยทำอยู่เสมอเพื่อการขับรถที่ปลอดภัย

    จอดพักรถอย่างไรให้ปลอดภัย?

    ไฟฉุกเฉิน ใช้อย่างไรให้ปลอดภัยไฟฉุกเฉิน ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย

    1 สิงหาคม 2565

    ไฟฉุกเฉิน ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย

    ไฟฉุกเฉินรถยนต์ หรือที่หลายคนอาจจะรู้จักกันในชื่อ ไฟผ่าหมาก ใช้เพื่อส่งสัญญาณให้รถคันอื่นทราบว่ารถคุณจอดอยู่บนถนนเนื่องจากอุบัติเหตุหรือชิ้นส่วนรถผิดปกติ ไม่ว่าสวิตช์กุญแจจะอยู่ตำแหน่งใดก็ตามเมื่อกดสวิตช์นี้ ไฟเลี้ยวและไฟเตือนไฟเลี้ยวทุกดวงจะกะพริบเพื่อแจ้งสัญญาณฉุกเฉิน

    ไฟฉุกเฉิน ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย